Local cover image
Local cover image
Amazon cover image
Image from Amazon.com

จิตวิทยาความฝัน = Dream psychology / Sigmund Freud, เขียน ; เมธินี ไชยคุณา, แปล

By: Contributor(s): Material type: TextTextPublication details: กรุงเทพฯ : แอร์โรว์, 2563Description: 239 หน้า ; 22 ซมISBN:
  • 9786164342248
Subject(s): LOC classification:
  • BF 637.S8 ฟ131จ 2563
Contents:
ความฝันมีความหมายของมัน หน้า 15-36 -- กลไกการทำงานของความฝัน หน้า 37-68 -- ทำไมความฝันจึงบิดเบือนความปรารถนาของผู้ฝัน หน้า 69-88 --การ วิเคราะห์ความฝัน หน้า 89-111 -- เซ็กส์ในความฝัน หน้า 112-138 -- ความปรารถนาในความฝัน หน้า 139-166 -- การทำงานของความฝัน หน้า 167-186 -- กระบวนการปฐมภูมิและกระบวนการทุติยภูมิ-การถดถอย หน้า 187-217 -- จิตไร้สำนึก และความรู้ตัว-ความเป็นจริง หน้า 218
Summary: หนังสือเล่มนี้เขียนขึ้นในปี ค.ศ. 1920 โดย "ซิกมุนด์ ฟรอยด์" นักจิตวิทยาชาวออสเตรีย เป็นเรื่องของการวิเคราะห์ความฝัน อธิบายถึงกลไกการทำงาน และสาเหตุที่ทำให้เกิดฝัน ในยุคที่ผู้คนได้เริ่มรู้จักกับคำว่า "จิตใต้สำนึก" ยุคที่ยังไม่มีการรับรองว่าจิตใต้สำนึกนั้นมีจริงหรือไม่ เป็นวิทยาศาสตร์หรือไม่ ดังเช่นในยุคปัจจุบันนี้ Dream Psychology จึงถือได้ว่าเป็นตำราขั้นพื้นฐานของทฤษฎีจิตวิเคราะห์เล่มแรก ๆ ซิกมุนด์ ฟรอยด์ ได้ชื่อว่าเป็นบิดาของ ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ (Psycho-analysis) และได้รับการยกย่องให้เป็นหนึ่งในบุคคลสำคัญของโลกจากการคิดค้นเรื่องจิตใต้สำนึก ซึ่งถือว่าเป็นผู้บุกเบิกวิชาการแขนงใหม่ให้กับมนุษยชาติ และยังเป็นผู้ริเริ่มและจุดประกายให้ผู้คนสนใจเรื่องของจิตใต้สำนึกอย่างแพร่หลายอีกด้วย นอกจากนี้คำศัพท์ต่าง ๆ ที่เราใช้เกี่ยวกับจิตวิทยาในปัจจุบัน เช่นคำว่า การเก็บกด จิตไร้สำนึก จิตสำนึก อีโก้ ซุปเปอร์อีโก้ แม้แต่ ลิบิโด ซึ่งใช้แทน คำว่า แรงขับทางเพศ ในภาษาอังกฤษที่มีการใช้กันอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน ล้วนแต่เป็นคำศัพท์ที่ ซิกมุนด์ ฟรอยด์ เป็นผู้บัญญัติขึ้นทั้งสิ้น อีกทั้งชื่อของเขาเองยังถูกนำมาบัญญัติขึ้นเป็นศัพท์ใหม่อีกหลายคำ เช่น Freudian Slip หรือการพลั้งปากพูด เป็นต้น
Tags from this library: No tags from this library for this title. Log in to add tags.
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
Holdings
Item type Current library Collection Shelving location Call number Status Date due Barcode Item holds
General Book General Book SPU Library, Chonburi campus General Books (THAI) Floor 4: General Shelves (THAI) BF 637.S8 ฟ131จ 2563 (Browse shelf(Opens below)) Available A090104
Total holds: 0

ความฝันมีความหมายของมัน หน้า 15-36 -- กลไกการทำงานของความฝัน หน้า 37-68 -- ทำไมความฝันจึงบิดเบือนความปรารถนาของผู้ฝัน หน้า 69-88 --การ วิเคราะห์ความฝัน หน้า 89-111 -- เซ็กส์ในความฝัน หน้า 112-138 -- ความปรารถนาในความฝัน หน้า 139-166 -- การทำงานของความฝัน หน้า 167-186 -- กระบวนการปฐมภูมิและกระบวนการทุติยภูมิ-การถดถอย หน้า 187-217 -- จิตไร้สำนึก และความรู้ตัว-ความเป็นจริง หน้า 218

หนังสือเล่มนี้เขียนขึ้นในปี ค.ศ. 1920 โดย "ซิกมุนด์ ฟรอยด์" นักจิตวิทยาชาวออสเตรีย เป็นเรื่องของการวิเคราะห์ความฝัน อธิบายถึงกลไกการทำงาน และสาเหตุที่ทำให้เกิดฝัน ในยุคที่ผู้คนได้เริ่มรู้จักกับคำว่า "จิตใต้สำนึก" ยุคที่ยังไม่มีการรับรองว่าจิตใต้สำนึกนั้นมีจริงหรือไม่ เป็นวิทยาศาสตร์หรือไม่ ดังเช่นในยุคปัจจุบันนี้ Dream Psychology จึงถือได้ว่าเป็นตำราขั้นพื้นฐานของทฤษฎีจิตวิเคราะห์เล่มแรก ๆ ซิกมุนด์ ฟรอยด์ ได้ชื่อว่าเป็นบิดาของ ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ (Psycho-analysis) และได้รับการยกย่องให้เป็นหนึ่งในบุคคลสำคัญของโลกจากการคิดค้นเรื่องจิตใต้สำนึก ซึ่งถือว่าเป็นผู้บุกเบิกวิชาการแขนงใหม่ให้กับมนุษยชาติ และยังเป็นผู้ริเริ่มและจุดประกายให้ผู้คนสนใจเรื่องของจิตใต้สำนึกอย่างแพร่หลายอีกด้วย นอกจากนี้คำศัพท์ต่าง ๆ ที่เราใช้เกี่ยวกับจิตวิทยาในปัจจุบัน เช่นคำว่า การเก็บกด จิตไร้สำนึก จิตสำนึก อีโก้ ซุปเปอร์อีโก้ แม้แต่ ลิบิโด ซึ่งใช้แทน คำว่า แรงขับทางเพศ ในภาษาอังกฤษที่มีการใช้กันอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน ล้วนแต่เป็นคำศัพท์ที่ ซิกมุนด์ ฟรอยด์ เป็นผู้บัญญัติขึ้นทั้งสิ้น อีกทั้งชื่อของเขาเองยังถูกนำมาบัญญัติขึ้นเป็นศัพท์ใหม่อีกหลายคำ เช่น Freudian Slip หรือการพลั้งปากพูด เป็นต้น

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer

Local cover image

มหาวิทยาลัยศรีปทุม (กทม.)
2410/2 ถ.พหลโยธิน เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900
Tel : 02-579-1111, 02-561-2222
มหาวิทยาลัยศรีปทุม (ชลบุรี)
79 หมู่ 1 ถ.บางนา-ตราด ต.คลองตำหรุ อ.เมือง จ.ชลบุรี 20000
Tel : 038-146-123
มหาวิทยาลัยศรีปทุม (ขอนแก่น)
182/12 หมู่ 4 ถ.ศรีจันทร์ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ขอนแก่น 40000
Tel : 043-224-111